1. ใครเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
1. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
2. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี*
3. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
4. ไม่มีข้อถูก
2. ผู้ใดไม่ได้เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
1. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง*
2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
4. ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. ในสำนักนายกรัฐมนตรี อาจมีส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีซึ่งเราสามารถไปดูได้ในกฎหมายฉบับใด
1. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักนายกรัฐมนตรี
2. พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
3. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
4. พรบ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545*
4. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
1. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
2. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
3. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี*
4. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
5. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
1. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไป
2. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์*
3. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการ
4. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับข้าราชการการเมือง
6. ผู้ดำรงตำแหน่งในข้อใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
1. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
2. รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
3. ผู้ช่วยปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
4. ถูกทุกข้อ*
7. ผู้ดำรงตำแหน่งตามข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
1. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี*
2. นายกรัฐมนตรี
3. รองนายกรัฐมนตรี
4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
8. ใครมีมีหน้าที่ รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักนายกรัฐมนตรี
1. นายกรัฐมนตรี
2. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี*
3. รองนายกรัฐมนตรี
4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
9. หน่วยงานใดมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
1. สำนักนายกรัฐมนตรี
2. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
3. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี*
4. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
10. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบราชการของกระทรวง
1. สำนักงานปลัดกระทรวง
2. กรม
3. สำนักงานรัฐมนตรี
4. สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี*
11. ส่วนราชการใดมิได้มีฐานะเป็นกรม
1. สำนักงานรัฐมนตรี*
2. สำนักงานปลัดกระทรวง
3. กรม
4. ถูกทุกข้อ
12. กระทรวงใดมีความจำเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทำหน้าที่จัดทำนโยบายและแผน สามารถขออนุมัติใครเพื่อตั้งสำนักนโยบายและแผน
1. นายกรัฐมนตรี
2. คณะรัฐมนตรี*
3. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
4. ปลัดกระทรวง
13. ในกระทรวงจะตรากฎหมายระดับใดจัดตั้งส่วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดี
1. พระราชบัญญัติ
2. พระราชกฤษฎีกา*
3. พระราชกำหนด
4. กฎกระทรวง
14. การแต่งตั้งอธิบดี ใครเป็นผู้นำเสนอ
1. อธิบดีต้องนำเสนอตนเอง
2. สำนักงานเลขานุการกรม
3. ปลัดกระทรวง
4. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด*
15. การแต่งตั้งอธิบดี ใครเป็นผู้อนุมัติ
1. คณะรัฐมนตรี*
2. ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด
3. สำนักงานเลขานุการกรม
4. นายกรัฐมนตรี
16. กระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดี ก่อน ครม. เห็นชอบใครต้องส่งร่างไปให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
1. นายกรัฐมนตรี*
2. ปลัดกระทรวง
3. อธิบดี
4. สำนักงานปลัดกระทรวง
17. กระทรวงมีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายฉบับใด
1. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
2. พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
3. พรบ. ปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545
4. พรบ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545*
18. ผู้ใดไม่ได้มีหน้าที่วางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวงร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และบรรลุเป้าหมายของกระทรวง
1. ปลัดกระทรวง
2. นายกรัฐมนตรี*
3. หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
4. หัวหน้าส่วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป
19. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวง
1. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
2. ปลัดกระทรวง
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง*
4. นายกรัฐมนตรี
20. ในกระทรวงผู้ใดมีหน้าที่รับผิดชอบในการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ
1. ปลัดกระทรวง
2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง*
3. ข้าราชการในกระทรวงทุกคน
4. อธิบดี
ชุดติว/หนังสือ ดีๆ เรียบเรียงโดยติวเตอร์ ผู้สอบผ่านภาค ก. ทั้ง 3 ระดับ
ผมมีความลับจะบอกครับ…

1. บางวิชาไม่มีสอนในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย
เราเรียนจนถึง ป.ตรี, ป.โท แล้วหวังว่า ข้อสอบจะออกตามวิชาต่างๆ ที่เราเรียนมานั้นไม่ถูกทั้งหมด บางคนประมาทไม่อ่านหนังสือไปสอบเลย พอเปิดข้อสอบออกมา เหวอเลย! เพราะข้อสอบ ก.พ. เป็นข้อสอบประยุกต์ บางวิชาไม่มีสอนในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย เราต้องรู้สิ่งนี้ก่อนไปสอบ
2. ข้อสอบใหม่แต่หลักการทำยังเหมือนเดิม
สำนักงาน ก.พ. ออกข้อสอบใหม่ทุกปี แต่หลักการทำข้อสอบยังเหมือนเดิม นั้นหมายความว่า ถ้าเรารู้วิธีจัดการกับข้อสอบโอกาสที่เราจะสอบผ่านก็มีมาก!

